วันอาทิตย์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

3. แบบทดสอบท้ายบทหมวด 2 การจัดเก็บอากร

แบบทดสอบท้ายบท หมวด ๒ การจัดเก็บอากร

1. หลักในการเสียอากร (1)...................(2.)...................(3)......................

2. พิกัดอัตราท้าย พ.ร.ก. พิกัดอัตราศุลกากร 2530 แบ่งออกเป็น 4 ภาค ได้แก่
ภาค 1………………………………. (มี....ข้อ)
ภาค 2 .............................................(มี.......หมวด.........ตอน)
ภาค 3 ……………………………………..(มี.......ประเภท)
ภาค 4………………………………………(มี..........ประเภท)

3. ตามพิธีสารว่าด้วยการนำพิกัดศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียนมาใช้ ซึ่งพิธีสารดังกล่าวได้กำหนดให้ใช้พิกัดศุลกากรในระดับ........หลักร่วมกัน

4. ความรับผิดในอันจะต้องเสียอากรสำหรับของที่นำเข้ามาในหรือส่งออกไปนอกราชอาณาจักรเกิดขึ้นในเวลาที่..................................................ตามมาตรา ๕๐

5. อธิบายการนำเข้าของสำเร็จหรือส่งของออกสำเร็จใน 4 เส้นทางหลัก ๆ (ทางทะเล, ทางบก, ทางอากาศ และทางไปรษณีย์) เป็นอันสำเร็จเมื่อใด

6. ผู้นำของเข้าหรือผู้ส่งของออกมีหน้าที่เสียอากรเมื่อ................................ต่อพนักงานศุลกากรและพนักงานศุลกากร................................แล้ว

7. ผู้นำของเข้าหรือผู้ส่งของออกต้องยื่นใบขนสินค้าเมื่อใด...................................

8. กรณีใดที่ผู้ที่เกี่ยวข้องร้องขอให้นำของนั้นไปจากอารักขาของศุลกากรหรือส่งของนั้นออกไปนอกราชอาณาจักรโดยยังไม่ต้องยื่นใบขนสินค้าให้สมบูรณ์หรือยังไม่ต้องเสียอากรจนครบถ้วน

9. กรณีใดที่ผู้นำของเข้าไม่ต้องยื่นใบขนสินค้าสำหรับของที่นำเข้ามาในราชอาณาจักรนั้น

10. กรณีที่ใดผู้นำของเข้าสามารถยื่นคำขออนุญาตเปิดตรวจของที่อยู่ในอารักขาของศุลกากรนั้นได้

11. เมื่อนำของเข้ามาในหรือจะส่งของออกไปนอกราชอาณาจักร รายการที่จำเป็นอย่างน้อยที่จะต้องสำแดงในใบขนสินค้า ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 52 ดังต่อไปนี้ (1)......................(2)..........................(3)........................(4)........................

12. ความรับผิดในอันที่ต้องเสียภาษีสรรพสามิตเกิดขึ้นเมื่อใด

13. ความรับผิดในอันที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการนำเข้าและการส่งออกเกิดขึ้นเมื่อใด

14. หลักการคำนวณสำหรับของนำเข้ามาในราชอาณาจักร ให้คำนวณตาม (1)........... (2)......... และ (3).......................ที่เป็นอยู่ในเวลาที่นำของเข้าสำเร็จ”

15. “ราคาศุลกากร” กรณีนำของเข้า หมายถึงราคาแห่งของเพื่อความมุ่งหมายในการจัดเก็บอากรตามราคาอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(ก) .........................................
(ข) ..........................................
(ค) ........................................
(ง) ............................................
(จ) ...........................................
(ฉ) ........................................

16. . “ราคาศุลกากร” กรณีส่งของออก หมายถึง...................................................................

17. . “ราคาศุลกากร” กรณีนำของออกจากเขตปลอดอากร หรือเขตประกอบการเสรีตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือเขตอื่นใดในทำนองเดียวกัน เพื่อใช้หรือจำหน่ายภายในราชอาณาจักร ..............

18. CIF (Cost Insurance and Freight) หมายถึง.............................

19. ข้อยกเว้นการคำนวณการนำของเข้าสำเร็จ
(๑) กรณีของที่เก็บไว้ในคลังสินค้าทัณฑ์บน ............
(๒) กรณีของที่เก็บไว้ในคลังสินค้าทัณฑ์บนสูญหายหรือถูกทำลาย ...............
(๓) กรณีของที่นำเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นของเพื่อการผ่านแดนหรือเพื่อการถ่ายลำและต่อมามีการขอเปลี่ยนการผ่านพิธีการศุลกากรเป็นของนำเข้าภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในมาตรา ๑๐๒ วรรคสอง........

20. หลักการคำนวณสำหรับของส่งออก การคำนวณอากรสำหรับของที่จะส่งออกไปนอกราชอาณาจักร ให้คำนวณ……………………………………………………………………………….

21. FOB (Free On Board) หมายถึง ..................................................

22. พิกัดอัตราอากรขาออกได้กำหนดไว้ในภาค 3 แนบท้ายพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 รวม ทั้งหมด.............ประเภท แยกออกเป็นที่ต้องอากรขาออก.............ประเภท

23. ตามมาตรา 18 ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถยื่นคำร้องขอต่ออธิบดีเพื่อให้พิจารณาเป็นการล่วงหน้าในเรื่องใดได้บ้าง
(๑) ......................................
(๒).......................................
(๓)...........................................


ลิขสิทธิ์โดย ดร.สงบ สิทธิเดช
Online 25/07/2564
dr.sangob.ct@gmail.com
dr.sangob.blogspot.com



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หลักสูตรกฎหมายศุลกากรออนไลน์

หลักสูตรออนไลน์พื้นฐานกฎหมายศุลกากร (ระดับเริ่มต้น) Customs Law Fundamentals Online Course (Beginner level) สรุปพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 25...